ขั้นที่ 1 แม่สี คือ PRIMARY เช่น สีแดง , สีเหลือง , สีน้ำเงิน
ขั้นที่ 2 สีรอง คือ SECONDARY เช่น สีส้ม , สีม่วง , สีเขียว
ขั้นที่ 2 สีรอง คือ SECONDARY เช่น สีส้ม , สีม่วง , สีเขียว
ขั้นที่ 3 TETIARY เช่น สีส้มแดง , สีส้มเหลือง , สีม่วงแดง , สีคราม , สีเขียวอ่อน , สีน้ำเงิน+สีเขียว ได้ เขียวน้ำเงิน
คำศัพท์ที่เกี่ยวกับสี
1. Hue แปลว่า ตัวสีหรือเนื้อสี 2. Saturation แปลว่า ความจัดจ้านของสีหรือความเจิดจ้าของสี
3. Value แปลว่า ค่าน้ำหนักของสี
สี (color)
สี (color)
1. CMYK ใช้สำหรับกับสิ่งพิมพ์ มี 4 สี เช่น หนังสือพิมพ์ 4 สี
CYAN สีน้ำเงิน , MAGENTA สีชมพูบานเย็น, YELLOW สีเหลือง , BLACK สีดำ
สีนอกเหนือจากที่พิมพ์ออกมาในการพิมพ์ 4 สี คือการทับกันของสีสองสี
2. RGB (แดง, เขียว, ฟ้า) ลงเว็บไซต์หรือบนหน้าจอกำหนดเช่น 141R, 145G, 32B ได้สีเขียวขี้ม้า
การใช้สีเอกรงค์ (monochromatic color) เป็นวิธีการใช้สีให้ประสาน กลมกลืนง่ายที่สุด เพราะเป็นการใช้สี สีเดียวทำให้เกิดความหลากหลายมากกว่า 1 สี โดยผสมสีขาวหรือสีดำเข้ากับสีที่มีความอิ่มตัวนั้น
CYAN สีน้ำเงิน , MAGENTA สีชมพูบานเย็น, YELLOW สีเหลือง , BLACK สีดำ
สีนอกเหนือจากที่พิมพ์ออกมาในการพิมพ์ 4 สี คือการทับกันของสีสองสี
2. RGB (แดง, เขียว, ฟ้า) ลงเว็บไซต์หรือบนหน้าจอกำหนดเช่น 141R, 145G, 32B ได้สีเขียวขี้ม้า
การใช้สีเอกรงค์ (monochromatic color) เป็นวิธีการใช้สีให้ประสาน กลมกลืนง่ายที่สุด เพราะเป็นการใช้สี สีเดียวทำให้เกิดความหลากหลายมากกว่า 1 สี โดยผสมสีขาวหรือสีดำเข้ากับสีที่มีความอิ่มตัวนั้น
การใช้สี 3 สี ช่วงห่างเท่ากัน (triads) เป็นการใช้สีในวงจรสี ที่มีตำแหน่ง3 สี เช่น สีแดง สีเหลือง สีน้ำเงิน เป็นสีทีตัดโดยน้ำหนัก มีลักษณะการใช้ตรงไปห่างกันทุกๆ ตรงมาดูสดใส มีความสัมพันธ์กันอย่างโดดเด่นและสะดุดตา
การใช้สี 3 สี ช่วงห่างไม่เท่ากัน (split complementary colors)
เป็นการใช้สี 3 สีซึ่งเมื่อเชื่อมโยงเส้นต่อกันทั้ง 3 สี จะเกิดเป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่ว การใช้สีแบบผสมผสานระหว่างสี โทนร้อนและโทนเย็นโดยเริ่มจากการเลือกสีใดสีหนึ่ง และจับคู่กับอีก 2 สี ในโทนสี
ตรงข้มกัน
การใสสีตรงข้าม ( Complementary ) การใช้สีตรงข้ามกัน สามารถช่วยเน้นความโดดเด่นได้ดีควรใช้สีดำหรือเทา เพื่อลดความรุนแรงของสี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น